วินสตัน เชอร์ชิล (Winston Churchill) วัยผู้ใหญ่

"ผมไม่มีอะไรจะให้ นอกจากหยาดเหงือ เลือด และหยาดน้ำตา" Winston Churchill

            กลับมาในเรื่องราวของ วินสตัน เชอร์ชิลจากตอนที่ 1(วัยเด็ก) และ ตอนที่ 2(วัยหนุ่ม) อีกครั้งในตอนนี้จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ช่วงนั้นคือช่องสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามโลกครั้งที่ 1

            เมื่ออายุ 33 ปี วินสตันได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการอาณานิคม ต่อมาได้เลื่อนเป็นประธานหอการค้าอังกฤษซึ่งมีฐานะเทียบเท่ารัฐมนตรี หลังจากที่เขาได้ดำรงตำแหน่งประธานหอการค้านั้น เขามีไฟในการทำงานอย่างมาก เขาเป็นผู้ที่สนับสนุนให้สตรีสามารถออกเสียงเลือกตั้งได้จากความสำเร็จของหลายๆ โครงการที่เขาเป็นผู้ดูแล ทำให้เขาได้เลื่อนตำแหน่งที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกิจการทหารเรือใน ค.ศ. 1911

หลังรับตำแหน่งเขาได้ปรับปรุงกองทัพเรืออังกฤษให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและผลักดันกองทัพอังกฤษให้เปลี่ยนจากการใช้ถ่านหินมาเป็นน้ำมันวางแผนยุทธศาสตร์ครั้งใหญ่ที่สุดของกองทัพเรืออังกฤษ โดยกำหนดว่าจะเอาความสามารถเป็นเกณฑ์ในการเลื่อนตำแหน่ง โดยไม่ดูว่ามีเชื้อสายใดมาจากวงศ์ตระกูลชั้นสูงใดๆ ปรากฏว่ากองทัพเรือเข้มแข็งมาก จึงได้สนับสนุนแผนการให้มีการยกพลโดยส่งกองเรือเข้าไปที่ทะเลดำโดยที่ไปส่งสเบียงให้กับรัสเซียในการต่อต้านกองทัพของเยรมันในส่วนของตะวันออกตะวันออก โดยผ่านช่องแคบกัลลิโพลี ในปี 1915 ทฤษฎีนี้จะสามารถยุติสงครามได้

            แต่ทุกอย่างไม่ได้สวยงามอย่างที่เขาคิดแม้ว่าจะผ่านไปได้ครึ่งทางแต่ก็สูบเสียหนักมากจนสุดท้าย ทหาร ห้าหมื่นกว่าคนเสียชีวิต และทหารแสนกว่าคนบาดเจ็บหรือสูญหาย ข่าวนี้สร้างความตกตะลึงอย่างมาก ทุกอย่างถาโถมเข้าใส่เชอร์ชิล หายนะในครั้งนั้นติดตาตรึงใจเชอร์ชิลจนตาย ประชาชนโกรธแค้น เป็นเหตุให้เชอร์ชิลโดยกดดันให้ลาออกจากกองทัพอังกฤษ ทุกคนคิดว่านี้คือการจบหน้าที่การงานเกี่ยวกับกองทัพของเชอร์ชิลแล้ว

แต่ไม่มีทางเป็นแบบนั้นสิงโตเหล็กตัวนี้จะยอมแพ้อะไรง่ายๆแน่นอน เชอร์ชิลลงสมัครเป็นทหารในแนวหน้าที่เบลเยี่ยม โดยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันในแนวหน้า เชอร์ชิลอาสาที่จะลงในแนวหน้าที่สนามเพลาะซึ่งเป็นสิ่งที่อันตรายมาก อัตตราการตายที่สูงส่งผลให้เชอร์ชิลเลื่อนขั้นอย่างรวดเร็วมาก

ทุกอย่างเปลี่ยนแปลง ในปี 1917 เมื่อโทรเลขของเยรมันที่ส่งถึงแมกซิโก ในเนื้อหานั้นระบุว่าเยรมันจะส่งเงินให้แมคซิโกเพื่อให้แมคซิโกยึดแท็กซัสและโจมตีสหรัฐเพื่อบีบอเมริกาไม่ให้มาเข้าร่วมส่งคราม แต่นั้นทำให้ชาวอเมริกันโกรธแค้นและเข้าร่วมสังครามโลกครั้งที่ 1 พร้อมกับนวัตกรรมที่จะเปลี่ยนแปลงสงครามตลอดไปนั้นคือรถถัง แต่สงครามเริ่มที่จะเป็นไปอย่างลำบากเพราะมีการปฎิวัติในรัสเซียโดยเลนินที่เยรมันส่งไปกับรถไฟพร้อมกับเงินจำนวนมาก คอมมิวนิสเป็นฝ่ายชนะ และรัสเซียต้องออกจากสงคราม ทำให้เยรมันไม่จำเป็นต้องต่อกรกับทหารทางตะวันออกอีกต่อไป

            แต่เหมือนโลกยังคงปลอดภัยแมคอาเธอร์ได้สังเกตภาพในบนอาการและเห็นว่าสนามเพลาะมีจุดโหว่จึงสามารถทลวงไปได้และชนะสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1918 อย่างไรก็ตามเชอร์ชิลได้การโหวตชนะการเลือกตั้ง สส. อย่างเฉียดฉิวและกลับสู่รัฐบาลโดยเชื่อว่าภัยสงครามยังไม่หมดไป

สงครามโลกครั้งที่ 2

            เชอร์ชิลกลัวฮิตเลอร์และจับตาดูอย่างต่อเนื่อง แชมเบอร์แลน นายกของอังกฤษอ่อนแอและกลัวสงครามทำให้แชมเบอร์แลนนั้นยอมต่อไปฮิตเลอร์ เป็ยเรื่องที่ผิดพลาดอย่างร้ายแรง เพราะหากคุณยอมให้หนูไปครั้งหนึ่งมันย่อมอยากได้มากขึ้น เชอร์ชิลถูกย้ายมาดำรงตำแหน่งเดิม สมาชิกสภาการทหารเรือเพื่อหวังว่าเชอร์ชิลจะพูดเข้าข้างเค้าบ้างเนื่องจากแชมเบอร์แลนพยายามที่จะไม่ให้เกิดสงคราม

สุดท้ายเชอร์ชิลก็ถูก หลังจากที่การรบแบบสายฟ้าแลบเกิดขึ้นที่โปแลนด์ ทำให้อังกฤษประการสงครามแต่เปล่าเลย ไม่มีการรบเกิดขึ้น เนื่องจากนายกอังกฤษอ่อนแอเกินกว่าจะเข้าร่วมสงคราม ความกลัวที่จะเกิดสิ่งเดิมเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ส่งผลให้แชมเบอร์แลนต้องรอให้พร้อมก่อน ความอ่อนแอดังกล่าวส่งผลให้ประชาชนไม่พอจะและบีบให้แชมเบอร์แลนลาออก ในปี 1940 วินสตัน เชอร์ชิลได้่เป็นนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ

ในปีเดียวกันฮิตเลอร์บุกเข้ายึดเยรมันโดยใช้วิธีเดิมคือการรบแบบสายฟ้าแลบ ทิ้งระเบิดและรถถังบุกเข้าฝรั่งเศษอย่างรวดเร็ว เชอร์ชิลสั่งทหารให้ถอยหนีโดยทิ้งทุกอย่างไว้ เนื่องจากความกลัวเมื่อครั้งกัลลิโพลี่ ไม่นานหลังจากนั้นฝรั่งเศษก็ยอมแพ้ จากนั้นฮิตเลอร์บีบอังกฤษให้ยอมแพ้เช่นเดียวกัน แต่อย่างที่ทุกคนรู้ มันไม่มีทางเกิดขึ้น ฮิตเลอร์จึงสั่งทิ้งละเบิดที่ลอนดอนทำให้พลเมืองสี่หมื่นคนเสียชีวิต บ้านสองพันหลังพังทลาย พลเมืองเป็นล้านคนต้องหลบภัย แต่เชอร์ชิลไม่หนีและแสดงความกล้าหาญโดยการยืนท้าทายการถล่มลอนดอน จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้พลเมืองลอนดอนมีกำลังใจและอดทน ไม่นานกองกำลังบินทหารของอังกฤษมีการผลิดเครืองบินอย่างรวดเร็วและล่ำสมั่ยมีชัยในสงครามอากาศ กำจัดเครืองบินของเยรมันไปได้ สามพันลำ ขนาดที่อังกฤษเสียไปไม่ถึงหกร้อยลำ บังคับให้ฮิตเลอร์ต้องถอยเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดของเชอร์ชิล

            ในปี 1941 ฮิตเลอร์ประกาศสงครามกับอเมริกา หลังจากที่ญี่ปุ่นที่ระเบิดใส่เพอฮาเบอ อย่างไรก็ตามเชอร์ชิลทำให้โลกได้เห็นว่าสามารถมีชัยชนะได้ ยิ่งจับมือกับอเมริกายิ่งสามารถเสริมความแข็งแกร่งได้ ถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะยึดฮ่องกงและมีชัยในสงครามแปซิฟิค และฮิตเลอร์ได้ทำการบุกโจมตีรัสเซียยึดไปได้จนถึงมอสโค เหลือด่านสุดท้ายคือสตาลินกราด แต่นั้นแหละคือข้อผิดพลาดเพราะเมื่อถึงหน้าหนาว การที่ไม่ได้เตรียมการระวังมาไว้ทำให้ฮิตเลอร์ต้องเสียกองทัพเป็นล้าน ทางด้านเชอร์ชิล และรูสเวลได้ส่งกองกำลังขึ้นบกที่นอมังดีและตีเข้าเยรมันจนสามารถอวสานคงครามตะวันตกได้ในปี 1945 และจบส่งครามโลกครั้งที่ 2 โดยที่อเมริกาได้ทิ้งระเบิดปรามานูลงที่ญี่ปุ่น 2 ลูก จากคำสั่งของ ประธานาธิบดี ทรูแมนและจบส่งครามโลกอย่างสิ้นเชิงในปี 1946

            เมื่อจบส่งครามโลกอังกฤษกำลังเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่าน และเชอร์ชิลก็ยอมรับมันไม่ได้ที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต นั้นจึงเป็นเหตุผลให้ เชอร์ชิลแพ้การเลือกตั้ง แม้จะเป็นคนพาอังกฤษชนะสงครามก็ตาม แต่สิ่งนี้ไม่ได้ทำให้เขาย่อท้อมันทำให้เขาได้เรียนรู้ว่า การยอมรับคือที่สุดของที่สุดของมนุษย์ และทำให้เขาต่อสู้ต่อไปจนชนะเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่งในที่สุดในตอนที่อายุได้ 77 ปี เมื่อ80ปีเชอร์ชิลขอลาออกจากตำแหน่ง ชีวิตช่วงหลังของเขาได้เขียนหนังสือจำนวนมากจนได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี 1953 เชอร์ชิลยังคงเข้าประชุมหลายครั้งในอีกหลายปีต่อมาจนเมื่อายุได้ 90 ปี 1965 เชอร์ชิลก็เสียชีวิตลง

            จบแล้วครับสำหรับประวัติโดยย่อของเชอร์ชิล เสียงที่แสดงออกถึงความเป็นเชอร์ชิล คือความไม่ยอมแพ้อย่างถึงที่สุด และพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง แก้ตัวเพื่อที่จะควบคุมสถานการณ์ที่อย่างให้เป็นดั่งใจถึงแม้ภาพลักษณ์ที่แสดงออกของเชอร์ชิลจะค่อนข้างบ้าสงครามแต่เขาก็ถูกเสมอ สำหรับฮิตเลอร์ที่ว่าจะเป็นภัยต่อคนทั่งโลก

            สิ่งที่ผมอยากจะให้จดจำสำหรับคนคนนี้คือ "ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็ตาม พยายามอย่ายอมแพ้ แก้ไขลองทุกวิธีทางอย่าพึ่งคิดว่าเป็นไปไม่ได้ หากยังไม่ลองทำ เดินไปข้างหน้ามุ่งมั่น แล้วทุกอย่างจะเป็นไปตามครรลองของตัวมันเอง"

"Never Never give up (จงอย่ายอมและอย่ายอมแพ้)" Sir Winston churchill 

ความคิดเห็น